ความเป็นมาของกาแฟในประเทศไทย

ประเทศเขตร้อนชื้นต่างๆทั่วโลกและในศตวรรษที่ 17และ18 เป็นปีที่กาแฟได้เข้ามาแพร่หลาย
ในประเทศเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และอินเดียตะวันตกเป็นครั้งแรก อุตสาหกรรมกาแฟใน
ประเทศไทยนั้นจะว่าไปแล้วยังถือว่าใหม่อยู่มาก ตามสถิติของทางราชการ เนื้อที่แปลงเพาะปลูก
กาแฟทั้งหมดภายในปี 1960 มีเพียงแค่ 19, 000 ไร่(หรือประมาณ 7,600 เอเคอร์) และ
ผลิตกาแฟได้เพียง 750 ตัน แต่ภายในปีเดียวกันนั้นเองประเทศไทยต้องนำเข้าผลิตภัณฑ์พืชผล
กาแฟเกือบจะ 6,000 ตัน เพื่อเป็นการปรับดุลย์การค้ารัฐบาลไทยได้ตั้งโครงการรณรงค์
และสนับสนุนกาแฟโรบัสตาที่ปลูกได้ทางภาคใต้ซึ่งได้รับความสำเร็จเป็นอย่างดี

การปลูกฝิ่น กลายเป็นโครงการของรัฐบาลอย่างเป็นทางการในปี 1970
เมื่อได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระ
บรมราชินีนาถและพระบรมวงศ์ศานุวงศ์ อีกทั้งยังมีองค์การสหประชาชาติ
และองค์การทั้งภาคเอกชนและรัฐบาลอื่นๆอีกมากมายที่ให้การสนับสนุนชาวไร่
ชาวเขาที่อาศัยอยู่ในเขตสามเหลี่ยมทองคำและตามแนวเขตแดนพม่าและลาว
จึงเริ่มหันมาสนใจปลูกกาแฟพันธุ์อราบิกากัน
ประเทศไทยเป็นชาติ ที่มีกาแฟเป็นสินค้าออกอย่างเป็นทางการในปี 1976 เราส่งกาแฟโรบัสต้ากว่า 850 ตัน
ออกขายในตลาดโลก ในช่วงปี 1980 ราคาในตลาดโลกมีความแข็งแกร่ง จึงช่วยให้การส่งออกมีการเติบโต
ไปในทิศทางที่ดี ในปีต่อมาและถึงจุดสูงสุดในช่วง ปี 1991-1992 ที่อัตรา 60, 000 ตัน ความล้มเหลวของ
"สัญญากาแฟสากล"ในเดือนกรกฎาคมปี 1989 และภาวะราคากาแฟโลกที่ตกต่ำจากผลผลิตที่ล้นตลาดมีผลกระทบ
ที่รุนแรงต่อชาวไร่กาแฟอย่างรุนแรง

จนเกินไปและเริ่มลดกำลังผลิตภายใต้แผนห้าปี(1992-1997) ให้ชาวไร่กาแฟ
เปลี่ยนไปปลูกพืชผลอย่างอื่น เนื่องจากพยายามที่จะลดเนื้อที่ในการเพาะปลูกกาแฟ จากที่เกือบจะถึง 500,000 ไร่(หรือประมาณ 200, 000 เอเคอร์)
ขอขอคุณ : http://student.nu.ac.th/